ไม้สวอปหัก กรณีนี้อาจเกิดจากการควงไม้สวอปในตอนหมุน หรือดันไม้สวอปแรง รวมไปถึงการแหย่ผิดทิศทาง ซึ่งกรณีนี้พบได้บ้างประปราย ภาพ: Charnsiri Segsarnviriya, Nicharee Phothijindakul เมื่อไม้สวอปหัก สิ่งแรกที่ต้องทำ คือ การสังเกตปลายไม้สวอป หากปลายไม้โผล่ออกมาปลายจมูกแล้วสามารถหยิบออกมาได้ ก็ให้หยิบออกมาทันที แต่หากไม้สวอปหักลึกเข้าไปด้านในจมูก ไม่ควรใช้ไม้หรือคีมหนีบคีบไม้ที่หักออกมา และเลี่ยงการสั่งน้ำมูก ขากเสมหะ กระตุ้นให้อาเจียน หรือไอหนัก ๆ เพื่อเลี่ยงปลายไม้สวอปที่หักไหลลงคอ เพราะอาจไหลไปหลอดลม คอหอย กล่องเสียง เสี่ยงหายใจไม่ออก แนะแยก ATK 2 ชนิด / วิธีใช้ต่างกัน นพ. ชาญสิริ แนะนำว่า การใช้ชุดตรวจ ATK สิ่งแรกที่ต้องศึกษา คือ ชนิดของ ATK 2 แบบ ได้แก่ ATK ไม้สั้น (Nasal Swab) แหย่ตื้น 2-3 เซนติเมตร และ ATK ไม้ยาว (Nasopharyngeal Swab) แหย่ยาว 10 เซนติเมตร นพ. ชาญสิริ ระบุว่า ATK ต่างชนิดกันก็มีวิธีการใช้แตกต่างกัน ดังนั้น เมื่อซื้อแล้วควรอ่านฉลากและขอคำแนะนำจากเภสัชกรเกี่ยวกับการใช้งานด้วย แนะอ่านฉลากกำกับการใช้งาน แต่บางร้านแบ่งขาย ผู้ซื้ออาจไม่ได้รับใบกำกับวิธีการใช้ ดังนั้น ลองสังเกตตัวเลขเซนติเมตร หรือคำศัพท์อย่าง Nasal Swab และ Nasopharyngeal Swab ก็จะช่วยได้ เปิดเทคนิคสวอปให้ถูกต้องและปลอดภัย นพ.

  1. โรคหลอดลมอักเสบ • รามา แชนแนล
  2. แพทย์เปิดเทคนิคแหย่ ATK ถูกวิธี เลี่ยงกำเดาไหล-ไม้สวอปหักคาจมูก
  3. การออกกำลังกายกับหลอดลมอักเสบ: ปลอดภัยหรือไม่? - ทางการแพทย์ - 2022
  4. การดูดเสมหะ ขั้นตอนและวิธีการดูดเสมหะ เมื่อไหร่ควรดูดเสมหะ
  5. [ อาการเสมหะลงปอด ในเด็กและผู้ใหญ่ ] อันตรายหรือไม่ ควรรับมืออย่างไรดีมีบอก

โรคหลอดลมอักเสบ • รามา แชนแนล

สำหรับผู้ป่วย ที่ไม่สามารถขับเสมหะได้เองนั้น จะส่งผลเสียต่อร่างกายมากมาย แพทย์จึงจำเป็นจะต้อง ดูดเสมหะ ที่ค้างเหล่านั้นให้ผู้ป่วย แต่เมื่อผู้ป่วยกลับมาพักฟื้นที่บ้าน ในบางรายอาจจะต้องให้ผู้ดูแลดูดเสมหะให้ผู้ป่วยเอง ซึ่งผู้ดูแลหลายคนก็กลัวผู้ป่วยจะเจ็บปวดหรือทรมานจนไม่กล้าทำ บทความนี้จึงมี วิธีดูดเสมหะทางปาก จมูก หรือท่อเจาะคอให้ผู้ป่วย พร้อมทั้งมีวิธีการสังเกตอาการผู้ป่วยเมื่อต้องการการดูดเสมหะง่าย ๆ มาฝากกันค่ะ เสมหะ คืออะไร? เสมหะ คือ สารเมือกที่อยู่บริเวณทางเดินหายใจ ตั้งแต่หลอดลมคอถึงหลอดลมฝอย มีประมาณ 10 – 100 มิลลิลิตร/วัน หรือที่มักเรียกกันว่าเสลด โดยเสมหะเหล่านี้ เกิดจากเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอม ที่เข้าไปทำให้เกิดการระคายเคืองบริเวณหลอดลมและลำคอ ร่างกายจึงหลั่งเสมหะออกมา เพื่อเคลือบลำคอไม่ให้ระคายเคือง ซึ่งหากหลั่งออกมามากเกินไป จะทำให้เสมหะเกิดเป็นก้อนเหนียวและอาจติดคอได้ หากไม่กำจัดเสมหะออกไป อาจสร้างความรำคาญใจและส่งผลเสียต่อร่างกาย นอกจากนี้เสมหะยังเป็นสัญญาณบอกโรคต่าง ๆ ได้อีกด้วย เสมหะ แต่ละสีบอกอะไร? กำจัดเสมหะได้อย่างไร สนใจอ่านต่อ คลิกเลย! สารบัญ ทำไมถึงต้องดูดเสมหะ? การดูดเสมหะทำให้ผู้ป่วยเจ็บหรือทรมานไหม?

เสมหะลงปอดผู้ใหญ่ อาการที่พบได้บ่อยในผู้ใหญ่ ก็คือ การไอบ่อย มีเสมหะเยอะ เสมหะเหนียวข้น หายใจเร็ว หายใจลำบาก บางรายมีไข้ขึ้นสูง หนาวสั่น เกิดภาวะร่างกายอ่อนเพลีย กระสับกระส่าย ปวดศีรษะ และเจ็บชายโครงเมื่อหายใจเข้า-ออก คลิกอ่านเพิ่มเติม: การดูดเสมหะในผู้ใหญ่ เจ็บไหม มีวิธีการดูดเสมหะผู้ใหญ่อย่างไรบ้าง ต้องอ่านก่อนลงมือจริง ๆ 2.

แพทย์เปิดเทคนิคแหย่ ATK ถูกวิธี เลี่ยงกำเดาไหล-ไม้สวอปหักคาจมูก

รักหมอ เมดิคอล) ผู้ผลิตและจัดจำหน่ายเครื่องมือแพทย์ อุปกรณ์การแพทย์ ของใช้ผู้ป่วย ผู้สูงอายุ และคนพิการ แบบครบวงจร

พญ. อรพิชญา ไกรฤทธิ์ ภาควิชาอายุรศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี มหาวิทยาลัยมหิดล คลิกชมคลิปรายการ "รายการพบหมอรามา Home Care โรคหลอดลมอักเสบ" ได้ที่นี่

การออกกำลังกายกับหลอดลมอักเสบ: ปลอดภัยหรือไม่? - ทางการแพทย์ - 2022

เด็กเบอร์ 8-10 Fr. เพื่อป้องกันภาวะปอดแฟบ (Lung collapse) เนื่องจากสายดูดเสมหะขนาดใหญ่จะทำให้ช่องว่างของท่อหายใจลดลงจนไม่เพียงพอ สำหรับอากาศภายนอกที่จะไหลเข้ามาแทนที่อากาศที่ดูดออก สำหรับการดูดเสมหะระบบปิด (Close system) ตามหลักฐานเชิงประจักษ์แนะนำให้ใช้สายดูดเสมหะขนาดไม่เกิน 12 Fr.

฿ 890. 00 (รวมภาษีแล้ว) Mucoflux คือ ยาขจัดเสมหะในหลอดลด หรือ สำหรับผู้ที่ไอแบบมีเสมหะ สามารถใช้ลดความเหนี่ยวข้นของเสมหะและขจัดเสมหะ ได้ทั้งผู้ที่มีอาการผิดปกติของระบบทางเดินหายใจทั้งชนิดเฉียบพลันและเรื้อรัง มีสินค้าอยู่ 4

การดูดเสมหะ ขั้นตอนและวิธีการดูดเสมหะ เมื่อไหร่ควรดูดเสมหะ

เสมหะในหลอดลม

[ อาการเสมหะลงปอด ในเด็กและผู้ใหญ่ ] อันตรายหรือไม่ ควรรับมืออย่างไรดีมีบอก

"นพ. ชาญสิริ เสกสรรค์วิริยะ" เปิดเทคนิคใช้ชุดตรวจ ATK ให้ถูกวิธี เลี่ยงความเสี่ยงเจ็บ เลือดกำเดาไหล และไม้สวอปหักคาจมูก พร้อมแนะวิธีปฐมพยาบาลเบื้องต้นกรณีฉุกเฉิน ก่อนไปพบแพทย์ วันนี้ (27 ส. ค. 2564) นพ. ชาญสิริ เสกสรรค์วิริยะ แพทย์ผู้เชี่ยวชาญโสต ศอ นาสิก โรงพยาบาลสมิติเวช ธนบุรี ให้สัมภาษณ์ไทยพีบีเอสออนไลน์ ระบุว่า การใช้ชุดตรวจ ATK ด้วยตนเอง สิ่งสำคัญคือการใช้อย่างถูกวิธีและถูกทิศทาง หากใช้ผิดวิธีอาจเกิดความเสี่ยงได้ 3 กรณี ได้แก่ 1. รู้สึกเจ็บ หากแหย่ผิดทิศทางที่ถูกต้องอาจทำให้เยื่อบุจมูกบาดเจ็บเล็กน้อย อาการนี้ สามารถหายได้เองภายใน 1-2 วัน หากเจ็บมากกินยาแก้ปวดได้ เพื่อสังเกตอาการ แต่หากเกิน 2-3 วันยังไม่หายเจ็บควรไปพบแพทย์ 2. เลือดกำเดาไหล อาการนี้อาจเกิดได้จากการแหย่ผิดทิศทาง หรือมีโรคประจำตัวอย่างโรคความดันสูง หรือกินยาแอสไพริน ยาต้านเกล็ดเลือด หรือกรณีมีก้อนในจมูกโดยที่ไม่เคยรู้มาก่อน เมื่อเลือดไหลแล้ว อันดับแรก ควรตั้งสติ นั่งบนเก้าอี้แล้วโน้มตัวไปข้างหน้าเล็กน้อย ก้มหน้า บีบจมูกด้วยนิ้วโป้งกับชี้ ประมาณ 10-15 นาที อ้าปากเพื่อหายใจ ห้ามเงยหน้าเด็ดขาด เพราะเลือดอาจไหลลงคอ เนื่องจากโพรงจมูกกับคอหอยอยู่ต่อกัน อาจทำให้ลิ่มเลือดอุดกั้นทางเดินหายใจได้ ทั้งนี้ แนะนำให้ประคบเย็นบริเวณดั้งจมูก 10-15 นาที ไม่นำทิชชู่ยัดจมูกห้ามเลือดเด็ดขาด เมื่อครบเวลาให้คลายนิ้วออก หากเลือดยังไม่หยุดไหลให้ไปพบแพทย์ทันที 3.

โรคหลอดลมอีกหนึ่งโรคที่เป็นได้ง่ายมาก เพราะว่าสาเหตุส่วนใหญ่มักจะมากจากชีวิตประจำวันของเราทั้งนั้น โรคหลอดลมอักเสบมี 2 ชนิด คือ 1. โรคหลอดลมอักเสบเฉียบพลัน มักจะเกิดเมื่อมีการติดเชื้อในทางเดินหายใจไล่ลงไปจนถึงหลอดลม โดยเชื้อโรคจะไปก่อกวนซึ่งทำให้เกิดอาการอักเสบ อาการบวมของเยื่อ เมือก ที่บุทางเดินหายใจของเรา ซึ่งนำไปสู่การระคายเคือง และนำไปสู่การมีเสมหะมากขึ้น ซึ่งจะมีอาการไอร่วมด้วย อาจจะมีไข้และอาการอ่อนเพลีย อาจจะพบเชื้อแบคทีเรียได้บ้าง โดยส่วนมากจะเกิดในผู้ป่วยที่มีอาการทางหลอดลมอยู่ก่อนแล้ว จึงกระตุ้นให้เกิดการอักเสบเฉียบพลันได้ง่ายขึ้น หรืออาจได้รับการระคายเคืองของเยื่อบุทางเดินหายใจมาก่อนหน้านี้ เช่น การสูบบุหรี่ การได้รับควันบุหรี่ ควันจากมลพิษต่างๆหรือโรคหืด 2.

ยาขับเสมหะ (Expectorants) เป็นยาที่ออกฤทธิ์เพื่อช่วยเพิ่มความชุ่มชื้นให้กับมูก เสมหะจึงมีลักษณะเหนียวข้นลดน้อยลง รวมทั้งยังช่วยให้การขับเสมหะออกจากร่างกายในระหว่างที่ไอได้ง่ายยิ่งขึ้น การใช้ยาดังกล่าวเนื่องจากผู้ป่วยที่มีปัญหาเกี่ยวกับโรคทางเดินหายใจมักจะมีเสมหะมากและเหนียวข้นอยู่แล้ว อีกทั้งยังแห้งเร็วกว่าปกติ ตลอดจนหายใจเร็วจนทำให้เยื่อเมือกในทางเดินหายใจและมูกเกิดการแห้งตัวเร็วกว่าปกติร่วมด้วย 2.

  1. การดูดเสมหะ ขั้นตอนและวิธีการดูดเสมหะ เมื่อไหร่ควรดูดเสมหะ
  2. จุรินทร์ แจง ราคาน้ำมันพุ่ง ทำสินค้าแพง-เงินเฟ้อทั่วโลก พร้อมตรึงราคา ช่วยประชาชน
  3. เครือข่าย LAN และ WAN
  1. ทาวน์ โฮม บางนา ตราด ที่พัก
  2. รูปภาพปลาสวยงาม
  3. สส พะเยา