ศ.

  1. PDPA กับ GDPR แตกต่างหรือคล้ายกันอย่างไร? | PDPA Plus
  2. Gdpr กับ papa.com
  3. Training

PDPA กับ GDPR แตกต่างหรือคล้ายกันอย่างไร? | PDPA Plus

*บทความนี้ถูกเขียนในวันที่ 5 มิถุนายน 2563 บทนำ หลายท่านอาจได้ยินเกี่ยวกับ พ. ร. บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ. ศ. 2562, General Data Protection Regulation (GDPR) และ ISO 27701 ซึ่งล้วนแล้วแต่มีความเกี่ยวกับความเป็นส่วนตัว หรือ Privacy ที่ทุกท่านคงจะคุ้นเคยกัน "แล้วทั้ง 3 สิ่งมีความเกี่ยวข้องกันอย่างไร" หากทุกท่านลองเปิดดู พ. 2562 แล้วนำมาตราของพ. เปรียบเทียบกับ Article (Art. ) หรือส่วนข้อกำหนดของ GDPR ซึ่งเป็นกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลของสหภาพยุโรป (European Union; EU) ท่านจะพบว่า 2 สิ่งมีความคล้ายคลึงเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นในเรื่องของหน้าที่ และความรับผิดชอบในการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคล และผู้ประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล ตัวอย่าง ฐานกฎหมายในการประมวลผลข้อมูลส่วนบุคคล เปรียบเทียบระหว่าง พ. 2562 กับ GDPR จากตัวอย่างเรื่องฐานกฎหมาย จะพบว่าพ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลมีฐานกฎหมายมากกว่า GDPR ซึ่งไม่มีฐานจดหมายเหตุ/วิจัย/สถิติ ทั้งนี้ฐานความยินยอมในผู้เยาว์จะมีความต่างกันในเรื่องของอายุผู้เยาว์ด้วยเช่นกัน ตัวอย่าง เรื่องสิทธิของเจ้าของข้อมูลส่วนบุคคล เปรียบเทียบระหว่าง พ.

gdpr กับ pdpa definition

ร. บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ซึ่งจะช่วยให้องค์กรประหยัดทั้งทรัพยากรบุคคลและเวลา และเตรียมความพร้อมที่ PDPA จะมีผลบังคับใช้ในปีหน้าได้ทันที

Gdpr กับ papa.com

  1. ส ปอน เซอร์ ลัง
  2. Gdpr กับ pdpa regulation
  3. เตรียมธุรกิจให้พร้อม สำหรับ พรบ.คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล ( PDPA ) - STEPS Academy
  4. Gdpr กับ pdpa act
  5. มี PDPA แล้ว ยังต้องทำ GDPR อยู่ไหม? | PDPA Core
  6. หวยบางกอกทูเดย์ 1 7 64
  7. Gdpr กับ pdpa pro

คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และ GDPR เป็นอย่างมาก และสามารถนำมาใช้เป็นแนวทางปฏิบัติ เพื่อให้องค์กรดำเนินการได้สอดคล้องกับกฎหมายทั้ง 2 ฉบับ และอาจรวมถึงกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลอื่น ๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น มาตรฐาน ISO/IEC 27701:2019 ประกอบด้วยมาตรการรักษาความมั่นคงปลอดภัยข้อมูล ซึ่งระบุอยู่ในส่วน annex ของ ISO/IEC 27001:2013 และมาตรการเพิ่มเติมสำหรับการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่มีความสอดคล้องกับทั้ง พ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลและ GDPR โดยส่วนที่เพิ่มเติมนั้นสามารถแบ่งได้ออกเป็น 2 ส่วน คือ จะเห็นว่ามาตรการส่วนที่เพิ่มเติมนั้น มีความสอดคล้องกับกฎหมายไม่ว่าจะ GDPR หรือ พ. 2562 ดังนั้นหากท่านต้องการมั่นใจว่าการดำเนินงานและกระบวนการขององค์กรมีความสอดคล้องกับกฎหมายและเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ องค์กรสามารถนำ ISO/IEC 27701:2019 มาใช้เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติได้ อย่างไรก็ตาม องค์กรควรติดตามประกาศที่เกี่ยวข้องกับกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลจากคณะกรรมการคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล หรือ Super Authority อย่างสม่ำเสมอ เพื่อให้แน่ใจว่าการเก็บรวบรวม ใช้ หรือเปิดเผยข้อมูลส่วนบุคคลขององค์กรยังคงสอดคล้องกับกฎหมายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล บทสรุป ในภาพรวมนั้น ทั้ง พ.

เจ้าของธุรกิจออนไลน์ทุกท่านอาจเคยได้ยินหรือทราบถึง PDPA ซึ่งคือ พ. ร. บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลที่ถูกบังคับใช้ในประเทศไทยนับตั้งแต่ปี พ. ศ. 2562 แล้ว ถือได้ว่าเป็นข้อกฎหมายใหม่ที่มาพร้อมกับการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ อย่างไรก็ตามบางท่านอาจจะกำลังสับสนระหว่าง "กฎหมาย PDPA" กับ "กฎหมาย GRPR" ว่าเหมือนหรือต่างกันอย่างไร? ในบทความนี้ Connect X จะมาบอกข้อแตกต่างระหว่างกฎหมายทั้ง 2 แบบนี้ให้เจ้าของธุรกิจทุกท่านได้ทราบ และนำไปใช้ดำเนินธุรกิจอย่างยั่งยืน กฎหมาย PDPA ในประเทศไทย PDPA คือ Personal Data Protection Act หรือก็คือกฎหมายที่มีจุดประสงค์เพื่อป้องกันข้อมูลส่วนตัวที่สามารถทำให้ระบุตัวบุคคลนั้นได้ ไม่ว่าจะเป็นทางตรงหรือทางอ้อมก็ตาม นอกจากนี้ PDPA ยังมีชื่อทางการเป็นภาษาไทยว่า "พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล" และเป็นกฎหมายที่มีไว้เพื่อป้องกันข้อมูลของประชาชนคนไทยทั้งในและต่างประเทศ พ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคลฉบับนี้ ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษาไปเมื่อ 27 พฤษภาคม พ. 2562 เริ่มแรก PDPA จะถูกบังคับใช้ในเต็มฉบับในวันที่ 1 มิถุนายน พ. 2564 ได้เลื่อนไปเป็นวันที่ 1 มิถุนายน พ. 2565 แทน PDPA ครอบคลุมข้อมูลด้านใดบ้าง?

Training

gdpr กับ pdpa approved gdpr กับ pdpa singapore
  1. The chapter เจริญนคร english
  2. Vans slip on ผู้หญิง 2
  3. ปั๊ม เชลล์ อยุธยา ยูไนเต็ด