ศ. 2564 เป็นต้นไป กำหนดให้การจ่ายเงินบำเหน็จชราภาพให้แก่ผู้ประกันตนซึ่งออกเงินสมทบเข้ากองทุนในช่วงเวลาที่มีการลดอัตราเงินสมทบตั้งแต่วันที่ 1 - 31 มกราคม พ. 2564 ให้คำนวณจากอัตราเงินสมทบเพิ่มขึ้นอีกร้อยละ 0. 45 ของค่าจ้าง กำหนดให้การจ่ายเงินบำเหน็จชราภาพให้แก่ผู้ประกันตนซึ่งออกเงินสมทบเข้ากองทุนในช่วงเวลาที่มีการลดอัตราเงินสมทบตั้งแต่วันที่ 1 กุมภาพันธ์ – 31 มีนาคม พ. 2564 ให้คำนวณจากอัตราเงินสมทบเพิ่มขึ้นอีกร้อยละ 1. 3 ของค่าจ้าง ข่าวที่น่าสนใจ

  1. เงินสงเคราะห์บุตร เงินบำนาญชราภาพ รับโอนผ่าน พร้อมเพย์ ไม่เสียค่าธรรมเนียม
  2. ประกันสังคม วิธี เช็คสิทธิ์ประกันสังคม วีธีคำนวณบำเหน็จ บำนาญ

เงินสงเคราะห์บุตร เงินบำนาญชราภาพ รับโอนผ่าน พร้อมเพย์ ไม่เสียค่าธรรมเนียม

"เงินบำนาญชราภาพ" แจกสูตรคำนวณเงินแบบง่าย ๆ ที่ใคร ๆ ก็ทำได้ แถมแจกวิธีเช็คยอดเงินสะสม รวมครบทุกสูตรที่ชาวออฟฟิศต้องรู้ รีบเช็คด่วน ก่อนพลาด "เงินบำนาญชราภาพ" คือ เงินก้อนสำหรับ ผู้ประกันตน ที่จ่ายเงิน ประกันสังคม ต่อเนื่องทุกเดือน โดยผู้ประกันตนจะได้นับเงินบำนาญชราภาพ 20% ของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย ผละจะบวกเพิ่มอีก 1. 5% ของระยะเวลาการจ่ายเงินสมทบทุก ๆ 12 เดือน โดยมีเงื่อนไข ดังนี้ จ่ายเงินสมบทตั้งแต่ 180 เดือน หรือ 15 ปีขึ้นไป อายุครบ 55 ปี บริบูรณ์ สิ้นสุดการเป็นผู้ประกันตน ล่าสุด สำนักงานประกันสังคม ได้เผยเคล็ดลับ พร้อมแจกสูตรคำนวณ "เงินบำนาญชราภาพ" สำหรับ ผู้ประกันตน โดยสามารถคำนวณได้ 2 กรณี ดังนี้ 1. กรณีจ่ายครบ 180 เดือน หรือ 15 ปี จะได้รับ 20% ของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย (ฐานเงินเดือนสูงสุด 15, 000 บาท) สูตรคำนวณ: 20 x 15, 000 หาร 100 เช่น ผู้ประกันตนอายุ 55 ปี จ่ายเงินสมทบมาแล้ว 15 ปี รายได้เฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย จะอยู่ที่ 15, 000 บาท = ผู้ประกันตนจะได้รับเงินบำนาญ เดือนละ 3, 000 บาท 2. กรณีจ่ายเกิน 180 เดือน หรือ 15 ปีขึ้นไป จะได้รับ 20% ของค่าจ้างเฉลี่ย 60 เดือนสุดท้าย (ฐานเงินเดือนสูงสุดที่คิดคือ 15, 000 บาท) โดยได้เพิ่มอีก 1.

ก. ส. ) กรณีผู้ประกันตนเสียชีวิต ต้องเตรียมเอกสารเพิ่มเติมดังนี้ 1. สำเนามรณะบัตรและสำเนา ทะเบียนบ้าน ผู้ตาย 2. สำเนา บัตรประจำตัวประชาชน และ สำเนาทะเบียนบ้าน ของผู้มีสิทธิรับเงินบำเหน็จชราภาพ 3. สำเนาทะเบียนสมรสของผู้ประกันคนและของบิดามารดา (ถ้ามี) 4. สำเนาสูติบัตรของบุตร หรือ สำเนาทะเบียนบ้านของบุตร กรณีไม่มีสูติบัตร 5.

45 ของค่าจ้างผู้ประกันตน โดยนำอัตราเงินสมทบที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 0. 45 ของค่าจ้างผู้ประกันตน มาสมทบเพิ่มในกองทุน 2 กรณี สำหรับผู้ประกันตนตามมาตรา 33 (ผู้ประกันตนซึ่งเป็นลูกจ้างซึ่งทำงานให้นายจ้างโดยรับค่าจ้าง) เดิมกำหนดอัตราเงินสมทบร้อยละ 3. 7 ของค่าจ้างผู้ประกันตน เพิ่มเป็นร้อยละ 4. 15 ของค่าจ้างผู้ประกันตน และผู้ประกันตนตามมาตรา 39 (ผู้ประกันตนซึ่งเป็นบุคคลที่เคยทำงานอยู่ในบริษัทเอกชน ตามมาตรา 33 มาก่อนแล้วลาออก แต่ต้องการรักษาสิทธิประกันสังคมไว้ จึงสมัครเข้าใช้สิทธิประกันสังคมแทน) เดิมจัดเก็บที่ร้อยละ 3. 15 ของค่าจ้างผู้ประกันตน เงินสมทบงวดเดือนกุมภาพันธ์ – มีนาคม 2564 เป็นการนำอัตราเงินสมทบเพื่อการจ่ายประโยชน์ทดแทนกรณีสงเคราะห์บุตรและชราภาพ (กองทุน 2 กรณี) ในส่วนของรัฐบาลที่เกินจากอัตราเดิมซึ่งกำหนดไว้ในอัตราร้อยละ 1 ของค่าจ้างผู้ประกันตน เพิ่มเป็นอัตราร้อยละ 2. 3 ของค่าจ้างผู้ประกันตน โดยนำอัตราเงินสมทบที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 1. 3 ของค่าจ้างผู้ประกันตน มาสมทบเพิ่มในกองทุน 2 กรณี สำหรับผู้ประกันตนตามมาตรา 33 เดิมกำหนดอัตราเงินสมทบร้อยละ 2. 9 ของค่าจ้างผู้ประกันตน เพิ่มเป็นร้อยละ 4. 2 ของค่าจ้างผู้ประกันตน และผู้ประกันตนตามมาตรา 39 เดิมจัดเก็บที่ร้อยละ 0.

ประกันสังคม วิธี เช็คสิทธิ์ประกันสังคม วีธีคำนวณบำเหน็จ บำนาญ

5 ต่อระยะเวลาการจ่ายเงินสมทบทุก 12 เดือน สำหรับระยะเวลาที่จ่ายเงินสมทบเกินกว่า 180 เดือน สูตรการคำนวณ หากไม่สามารถคำนวณได้ ให้ใช้เว็บไซต์ของกองทุนประกันสังคม คำนวณบำนาญชราภาพ คลิก หากต้องการข้อมูลเพิ่มเติมก็ให้ไปที่เว็บไซต์ของประกันสังคม เพราะจะมีรายละเอียด ที่ถูกต้องชัดเจนกว่านะครับ ดาวน์โหลดแอปมือถือ เช็คสิทธิ์ประกันสังคม IOS คลิก Android คลิก อ่านบทความ พระธาตุอินแขวน คลิก ชอบบทความก็แชร์ต่อ ให้เพื่อนๆเลยจ้า หรือจะกดไลค์เพจเราก็ได้นะ
5% ของทุกปี สูตรคำนวณ: [20+(1.
  1. Ipad 2018 ขนาด
  2. เงินสงเคราะห์ชราภาพ ประกันสังคม
  3. ปู ผนัง ห้อง ครัว
  4. ตู้ ตั้ง พื้น
  5. We fitness ekamai ราคา
  6. ราคา TORC T55 Born To Ride รถจักรยานยนต์ Harley หมวกกันน็อคครึ่ง Retro VINTAGE หมวกกันน็อก Moto motocicleta Capacete หมวก casco - Solis Auto Parts

แรงงาน 25 มี. ค. 2565 เวลา 10:08 น. 11. 2k ต้องรู้ว่าไว้ "ประกันสังคม" แนะเช็กสิทธิ เงินสงเคราะห์-บำเหน็จชราภาพและค่าทำศพ สามสิทธิที่ "ทายาท" จะได้รับหากผู้ประกันตนเสียชีวิต "สำนักงานประกันสังคม" กระทรวงแรงงานแนะเช็ก สิทธิ ผู้ประกันตน ม. 33 และ ม.