บุคคลที่เลิกเป็นลูกจ้างประจำ, ลูกจ้างที่ลาออกจากงาน เป็นบุคคลที่เคยเป็นผู้ประกันตนตามมาตรา 33 ไม่ต่ำกว่า 1 ปี ลาออกไม่ต่ำกว่า 6 เดือน และไม่เป็นผู้ทุพพลภาพอีกด้วย ทางกฎหมายเรียกว่า ผู้ประกันตนตามมาตรา 39 สำหรับผู้ประกันตนตามมาตรา 39 จะได้รับความคุ้มครองในกรณีเจ็บป่วย, เกิดอุบัติเหตุ, ทุพพลภาพ, เสียชีวิต, คลอดบุตร, สงเคราะห์บุตร และชราภาพ หมายเหตุ หลังจากลาออก หากคุณต้องการเป็นผู้ประกันตนต่อหรือต้องการรักษาสิทธิ ประกันสังคม สามารถแจ้งกับสำนักงาน ประกันสังคม ได้เลยค่ะ และต้องแจ้งภายใน 6 เดือนหลังจากมีการแจ้งออกจากงาน และส่งเงินเข้ากองทุน ประกันสังคม ภายในวันที่ 15 ของเดือนถัดไป 3.

ขึ้นทะเบียนประกันสังคม

ศ. เกิดเพียง 2 คน เรียงตามลำดับการเกิดก่อนหลังที่มีชีวิตอยู่ ข้อปฏิบัติผู้มีอำนาจเซ็น - ผู้ลงชื่อรับรองข้อมูลผู้ประกันตนเป็นผู้มีอำนาจกระทำการผูกพันบริษัทหรือผู้ได้รับมอบอำนาจเท่านั้น - ใน (................................. ) → ให้ลงคำนำหน้านาม ชื่อ - ชื่อสกุลให้เรียบร้อย - วันที่................................ พร้อมลงวันที่ให้เรียบร้อย ข้อมูลการเลือกสถานพยาบาล - การเลือกสถานพยาบาลในข้อ 8 ให้ผู้ประกันตนเลือกได้ตามเอกสารรายชื่อสถานพยาบาลประกันสังคมปีปัจจุบันเท่านั้น รายละเอียดการทำ สปส. 1-03/1 มีขั้นตอนดังนี้ 1. กรอกชื่อสถานประกอบการและชื่อสาขาพร้อมเลขที่บัญชี ลำดังสาขา ที่ตั้งสถานประกอบการหรือสาขา ตามที่ได้แจ้งขึ้นทะเบียนนายจ้างไว้ กรณีเป็นสำนักงานใหญ่หรือเป็นกิจการซึ่งไม่มีสาขากรุณาใส่ 000000 ลงที่ช่องลำดับที่สาขา 2. กรอกลำดับที่ เลขประจำตัวประชาชน คำนำหน้านาม ชื่อ-ชื่อนามสกุล ของผู้ประกันตนให้ชัดเจน 3. กรอก วันเดือนปี ที่ผู้ประกันตนเข้าทำงาน 4. ผู้ลงชื่อรับรองข้อมูลผู้ประกนตนเป็นผู้มีอำนาจกระทำการผูกพันบริษัทหรือผู้ได้รับมอบหมายอำนาจเท่านั้น 5. ลงชื่อ................................ นายจ้าง/ผู้รับมอบอำนาจ (ให้เซ็นชื่อนายจ้างหรือผู้ได้รับมอบอำนาจเท่านั้น) 6.

1-02) แบบขึ้นทะเบียนผู้ประกันตน (สปส. 1-03) แบบขึ้นทะเบียนผู้ประกันตน (สปส. 1-03/1) สำเนาหนังสือเดินทาง หรือสำเนาใบอนุญาตทำงานต่างด้าว (กรณีที่เป็นคนต่างด้าว) หมายเหตุ แบบขึ้นทะเบียนผู้ประกันตน สปส. 1-02 เป็นหนังสือนำส่งแบบขึ้นทะเบียนผู้ประกันตน ส่วนแบบขึ้นทะเบียนผู้ประกันตน สปส. 1-03/1 สำหรับผู้ที่เคยยื่นแบบขึ้นทะเบียนผู้ประกันตนมาก่อนแล้ว สถานที่ขึ้นทะเบียนประกันตน สำนักงาน ประกันสังคม กรุงเทพมหานครพื้นที่ 1-12 สำนักงาน ประกันสังคม จังหวัดและสาขา วัน-เวลาการเปิดทำการ วันจันทร์ – วันศุกร์ ยกเว้นวันหยุดราชการ ตั้งแต่เวลา 08. 30 – 16. 30 น. หมายเหตุ ควรวางแผนวัน-เวลาการเดินทาง และเตรียมเอกสารให้พร้อมนะคะ ขั้นตอนการขึ้นทะเบียนประกันสังคม นายจ้างหรือตัวแทน ยื่นคำขอและเอกสารต่อเจ้าหน้าที่ (แบบขึ้นทะเบียนนายจ้าง สปส. 1-01, แบบขึ้นทะเบียนผู้ประกันตน สปส. 1-02, แบบขึ้นทะเบียนผู้ประกันตน สปส. 1-03, หรือแบบขึ้นทะเบียนผู้ประกันตน สปส. 1-03/1 สำหรับผู้ที่เคยยื่นสปส. 1-03) จากนั้น เจ้าหน้าที่จะพิจารณา เมื่อได้รับอนุมัติ นายจ้างจะได้เลขที่บัญชี, ประเภทกิจการ, อัตราเงินสมทบ, ใบประเมินเงินสมทบ, และกองทุนเงินทดแทน หมายเหตุ การขึ้นประกันสังคม ไม่มีการเสียค่าธรรมเนียม และนายจ้าง ไม่สามารถยื่นเรื่องเข้า ประกันสังคม ภายใต้กิจการตนเองได้ ถ้าไม่ขึ้นทะเบียนประกันสังคม จะเกิดอะไรขึ้น?

การขึ้นทะเบียนนายจ้างมีขั้นตอนอย่างไร (ประกันสังคม) | PXO

  • Code foodpanda ขอนแก่น 2020
  • ส่งประกันสังคมให้แก่ลูกจ้าง สำหรับนายจ้างมือใหม่ | อบรมบัญชี, เก็บชั่วโมง CPD
  • Accounting manager หน้าที่ training
  • การทำสื่อ CAI | Blogชิวๆ
  • 5980 1a ราคา p
  • วิธี ลงทะเบียน ข้อมูล นายจ้าง ยืนยันการหยุดงานลูกจ้าง ประกันสังคม มาตรา33 - YouTube

การขึ้นทะเบียนประกันสังคม ฉบับผู้ประกอบการมือใหม่ - Cooking.in.th

นายจ้างที่มีลูกจ้างตั้งแต่ 1 คนขึ้นไป มีหน้าที่ขึ้นทะเบียนนายจ้างและขึ้นทะเบียนลูกจ้างภายใน 30 วัน นับตั้งแต่มีการจ้างงาน กรณีไม่ ขึ้นทะเบียนนายจ้าง ในเวลาและเงื่อนไข ที่กฏหมายกำหนด ต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับเป็นเงินไม่เกิน 20, 000 บาท หรือ ทั้งจำทั้งปรับ เป็นหน้าที่ของนายจ้างที่ต้องปฏิบัติตามเพื่อให้ลูกจ้างได้รับสิทธิประโยชน์จากประกันสังคม การขึ้นทะเบียนนายจ้าง(ให้ไปติดต่อ ประกันสังคม ในเขตพื้นที่) เอกสารที่ต้องใช้มีดังนี้ 1. แบบขึ้นทะเบียนนายจ้าง (สปส. 1-01) 2. สำเนาหนังสือรับรองการจดทะเบียนนิติบุคคลพร้อมวัตถุประสงค์ (ไม่เกิน6เดือน) 3. สำเนารับรองใบจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ. พ. 20) หรือ (ภ. 09) 4. แผนที่ตั้งของสถานประกอบการ 5. สำเนาบัตรประชาชนและสำเนาทะเบียนบ้าน(นายจ้าง) 6. รูปถ่ายที่เห็นป้ายชื่อกิจการ 7. หนังสือยินยอมให้ใช้สถานที่หรือสัญญาเช่า 8. หนังสือมอบอำนาจ, สำเนาบัตรประชาชน, สำเนาทะเบียนบ้าน ผู้รับมอบอำนาจ (กรณีมอบอำนาจ)

6 ล้านคนในประเทศไทย ★ ผู้สมัครงานพบงานที่ใช่มากขึ้น 6 เท่า ผู้ประกอบการได้ใบสมัครตรงใจมากขึ้น ★ ที่เว็บไซต์หางานอันดับ 1 ครองใจผู้สมัครงานคุณภาพ ลงทะเบียนเพื่อสรรหาผู้สมัครงาน ที่นี่ ★ เรื่องอื่น ๆ ที่น่าสนใจ กรณีย้ายสถานประกอบการ ใบกำกับภาษีเดิมจะยังใช้ได้อยู่หรือไม่ ขั้นตอนการขอยกเลิกกิจการให้ชอบด้วยกฎหมาย

ขั้นตอนการยื่นแบบประกันสังคมและตัวอย่าง | รับทำเงินเดือน รับทำบัญชี จดทะเบียนบริษัท

ว่างงาน จากการลาออกหรือเลิกจ้าง ว่างงาน จากการลาออก จ่าย 45% เป็นระยะเวลาไม่เกิน 90 วัน ว่างงาน จากกรณีเลิกจ้าง จ่าย 70% เป็นระยะเวลาไม่เกิน 200 วัน 3. ลดภาระนายจ้างและผู้ประกันตน ลดอัตราเงินสมทบนายจ้าง และผู้ประกันตน 4% เป็นระยะเวลา 6 เดือน ขยายเวลาส่งเงินสมทบของนายจ้าง และผู้ประกันตนมาตรา 33, 39 งวดค่าจ้างเดือน มี. เม. พ. 63 ออกไปอีก 3 เดือน - งวดค่าจ้างเดือน มี. เลื่อนส่งได้ ภายใน 15 ก. 63 - งวดค่าจ้างเดือน เม. เลื่อนส่งได้ ภายใน 15 ส. 63 - งวดค่าจ้างเดือน พ. 63 ขั้นตอน "ขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกันตน กรณีว่างงาน" ทันทีที่รู้ตัวว่า "ว่างงาน" จะต้องไปขึ้นทะเบียนเป็น 'ผู้ว่างงาน' ที่สำนักงานประกันสังคมใกล้บ้านหรือที่สะดวก ภายใน 30 วัน เพื่อแสดงสิทธิ์ โดยไม่จำเป็นต้องต้องรอหนังสือรับรองการออกจากงาน เพราะหากไปช้ากว่า 30 วัน จะไม่ได้รับสิทธิประโยชน์ทดแทนกรณีว่างงานที่ว่านี้ได้เลย ทั้งนี้ ผู้ที่ได้รับสิทธิผู้ประกันตนกรณีว่างงาน จะต้องเป็นผู้ที่จ่ายเงินสมทบไม่น้อยกว่า 6 เดือน ภายในระยะเวลา 15 เดือนก่อนการว่างงานด้วย 1. เข้าเว็บไซต์ของ กรมการจัดหางาน () 2. " ลงทะเบียนเข้าใช้งาน " สำหรับผู้ที่ยังไม่เคยขึ้นทะเบียนว่างงาน และยังไม่มีรหัสผ่านเข้าใช้ระบบ 3.

การขึ้นทะเบียนนายจ้างทำอย่างไร? เริ่มตรงไหน? ทำออนไลน์ได้เลยรึเปล่า? ใช้แบบฟอร์มอะไร? ดาวโหลดได้ที่ไหน? เอกสารประกอบมีอะไรบ้าง? คำถามมากมายเหล่านี้เป็นสิ่งที่ผู้ประกอบการมือใหม่ทุกท่านล้วนต้องค้นหาคำตอบเมื่อเริ่มกิจการ ทั้งนี้ประกันสังคมระบุไว้ว่าการขึ้นทะเบียนนายจ้างต้องทำภายใน 30 วันหลังจากมีการจ้างงานลูกจ้างคนแรก ทำอย่างไรนั้นเรามีคำตอบให้ที่นี่คะ โดยจะเล่าให้ฟังจากประสบการณ์ตรงที่ได้สะสมมาจากหลายๆส่วน ทั้งที่ทำให้บริษัทเราเองและที่ทำให้ลูกค้า เราจะสรุปให้เป็นหัวข้อๆ จะได้อ่านง่ายๆ ดังต่อไปนี้นะคะ ขึ้นทะเบียนนายจ้างทำออนไลน์ได้เลยทันทีรึเปล่า? คำตอบคือยังไม่ได้คะ!!! ณ ธันวาคม 2561 นายจ้างยังไม่สามารถขึ้นทะเบียนนายจ้างออนไลน์ได้ทันทีนะคะ แต่ถ้า google ก็จะเจอให้ไปสมัคร Biz Portal ของ ศูนย์กลางบริการภาครัฐเพื่อภาคธุรกิจ ตอนนั้นเราดีใจมากเพราะบอกว่าสามารถติดต่อราชการได้ทุกหน่วยงานแบบ One Stop Service จึงลองสมัครขอใช้บริการ Biz Portal ไป แต่กว่าจะได้ Username และ Password ใช้เวลาเป็นอาทิตย์ รอจนทนไม่ไหวเลยโทรไปตามและยังต้องส่งอีเมล์ไปทวงถึงจะได้มา พอได้มาก็รีบ Log In ทำตามคู่มือการจดทะเบียนนายจ้างออนไลน์จนเกือบสุดแต่ติดปัญหาเรื่อง E-Signature เลยโทรไปถามประกันสังคม เจ้าหน้าที่ประกันสังคมแจ้งว่า ระบบยังไม่ได้เชื่อมโยงกัน ดับฝัน Thailand 4.

4) หรือสำเนาหรือภาพถ่ายใบทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม (ภ. 20) หรือสำเนาภาพถ่ายภาษีธุรกิจเฉพาะ (ภ. ธ. 20) 2. แบบขึ้นทะเบียนผู้ประกันตน (สปส. 1-03) สำหรับผู้ที่ไม่เคยขึ้นทะเบียนผู้ประกันตนมาก่อนหรือแบบขึ้นทะเบียนผู้ประกันตน (สปส. 1-03/1) นายจ้างสามารถส่งข้อมูลผู้ประกันตน (ลูกจ้าง) แก่ประกันสังคม ได้ 3 วิธีดังนี้ ยื่นตามแบบฟอร์มแบบขึ้นทะเบียนผู้ประกันตน (สปส. 1-03) แบบขึ้้นทะเบียนผู้ประกันตน สำหรับผู้ที่เคยยื่นแบบขึ้นทะเบียนผู้ประกันตน สปส. 1-03 (สปส. 1-03/1) หนังสือแจ้งการสิ้นสุดความเป็นผู้ประกันตน (สปส. 6-09) แบบแจ้งการเปลี่ยนแปลงข้อเท็จจริงผู้ประกันตน (สปส. 6-10) ยื่นข้อมูลด้วยสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Diskette) หรือยื่นผ่านระบบอินเตอร์เน็ต (Internet) กรอกแบบฟอร์มขึ้นทะเบียนผู้ประกันตน (สปส. 1-03) บัตรประจำตัวประชาชนหรือหลักฐานอื่นๆ ที่สามารถแสดงตนได้ ใบอนุญาตทำงานและสำเนาหนังสือเดินทางหรือใบอนุญาติทำงานและใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว ในกรณีผู้ประกันตนเป็นชาวต่างชาติ ลูกจ้าง ที่เคยยื่นแบบขึ้นทะเบียนผู้ประกันตนมาแล้ว ให้แจ้งการขึ้นทะเบียนผู้ประกันตน (สปส. 1-03/1) ภายใน 30 วันนับแต่วันที่ลูกจ้างเข้าทำงาน นายจ้างสามารถยื่นเรื่องขอเป็นผู้ประกันตนเองได้หรือไม่ ทั้งนี้ผู้ประกอบการหน้าใหม่บางรายอาจจะยังไม่ทราบว่า หากคุณอยู่ในสถานะของนายจ้าง คุณไม่สามารถยื่นเรื่องให้ตนเองเป็นผู้ประกันตนได้ 3.

16 และ กท. 44 5. กรณีขอรับประโยชน์ทดแทน กองทุนประกันสังคม ให้ยื่นแบบ สปส. 2-01 ข้อกำหนดของประกันสังคม - กรณีนำส่ง สปส. 1-03 / 1 ให้แจ้งการขึ้นทะเบียนผู้ประกันภายใน 30 วัน นับแต่วันที่รับลูกจ้างเข้า ทำงาน มิฉะนั้นมีความผิดต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน 20, 000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ - กรณีนำส่ง สปส. 6-09 ให้แจ้งการสิ้นสุดความเป็นผู้ประกันตน ตั้งแต่วันที่มีการเปลี่ยนแปลง ทั้งนี้ไม่เกินวันที่ 15 ของเดือน ถัดจากเดือนที่มีการเปลี่ยนแปลง มิฉะนั้นจะมีความผิดต้องระวางโทษจำคุกไม่เกิน 6 เดือน หรือปรับไม่เกิน20, 000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ การกรอกแบบเพื่อนำส่ง สปส. 1-03/1 มีขั้นตอนดังต่อไปนี้ ในส่วนข้อมูลนายจ้าง 1. กรอกชื่อสถานประกอบการ 2. เลขที่บัญชี ของสถานประกอบการ 3. ลำดับที่สาขา (ถ้ามี) 4. วันที่ผู้ประกันตนเข้าทำงาน (ให้กรอกวันเดือนปี ที่ผู้ประกันตนเข้าปฏิบัติงานจริง ซึ่งจะมีผลต่อการขอรับประโยชน์) 5. ประเภทการจ้าง ข้อมูลผู้ประกันตน - ให้กรอกข้อมูลผู้ประกันตนในลำดับที่ 1 - 6 ให้ครบถ้วนเรียบร้อย คำแนะนำ ข้อ 6. สถานภาพครอบครัว ให้ระบุตามความเป็นจริง กรณีมีบุตรอายุไม่เกิน 6 ปี มากกว่า 2 คน ให้กรอกปี พ.

  1. บ้านพร้อมโกดัง
  2. โรงเรียน อินเตอร์ ใน พัทยา ที่พัก