5 ล่วงหน้า​ ดังนี้ พื้นที่กรุงเทพปริมณฑล 1 วันข้างหน้า คุณภาพอากาศดีมาก และคาดการณ์ 7 วันข้างหน้า นั้น แนวโน้มของสถานการณ์ในช่วงวันที่ 31 มี. - 6 เม. ย. จะอยู่ในเกณฑ์ดีต่อเนื่อง เนื่องจากสภาพอากาศที่เปิด และไม่มีสภาพอากาศนิ่งในพื้นที่ พื้นที่ 17 จังหวัดภาคเหนือ 1 วันข้างหน้า คุณภาพอากาศโดยภาพรวมดี และคาดการณ์ 7 วันข้างหน้า นั้น แนวโน้มของสถานการณ์ในช่วงวันที่ 3 - 6 เม. 65 ควรเฝ้าระวังเป็นอย่างยิ่งหากจุดความร้อนยังมีจำนวนเยอะอาจเกิดสถานการณ์ที่ค่าฝุ่นละอองขึ้นสูงโดยเฉพาะพื้นที่ภาคเหนือตอนบน ช่วงวันที่ 1-2 เมษายน 2565 มีโอกาสพบฝนตกในหลายพื้นที่ ของพื้นที่ภาคเหนือ ที่มา: ศูนย์แก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ ข่าวที่น่าสนใจ

สอบตกทั้งโลก WHO ชี้ไม่มีประเทศใดผ่านเกณฑ์มาตรฐานคุณภาพอากาศ

จะมีแนวโน้มอยู่ในเกณฑ์ที่ดี เนื่องจากเพดานการลอยตัวอากาศที่สูงขึ้น ประกอบกับพลังงานในการยกตัวที่สูงขึ้นอย่างมีนัยสำคัญ ช่วงวันที่ 24-25 มีนาคม 2565 มีโอกาสพบฝนตกในหลายพื้นที่ ของพื้นที่ภาคเหนือ ที่มา: ศูนย์แก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ ข่าวที่น่าสนใจ

ฐานเศรษฐกิจดิจิทัล | 23 มี. ค. 2565 เวลา 5:12 น. 121 WHO ชี้ปี 2564 ไร้ประเทศผ่านมาตรฐานคุณภาพอากาศ กว่า93 เมืองระดับฝุ่นPM 2. 5 สูงกว่าเกณฑ์ 10 เท่า โดยกรุงนิวเดลี ของอินเดีย ยังคงเป็นเมืองหลวงที่มีระดับมลพิษทางอากาศสูงที่สุดในโลก รายงานมาตรการคุณภาพอากาศ ประจำปี 2564 จากองค์การอนามัยโลก หรือWHO ระบุว่าไม่มีประเทศใดเลย ที่สามารถบริหารจัดการคุณภาพอากาศ ผ่านเกณฑ์มาตรฐานของWHO โดยกำหนดเกณฑ์เฉลี่ยรายปีของระดับฝุ่น พีเอ็ม 2. 5 ไม่ควรเกิน 5 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ซึ่งผลการสำรวจข้อมูลด้านมลพิษในเมือง 6, 475 แห่งทั่วโลก ที่จัดทำโดยไอคิวแอร์ บริษัทด้านเทคโนโลยีคุณภาพอากาศของสวิตเซอร์แลนด์ พบว่า มีเพียงร้อยละ 3. 4 เท่านั้น มีคุณภาพอากาศเข้าเกณฑ์มาตรฐาน ขณะที่ อีกกว่า 93 เมือง มีระดับฝุ่นพีเอ็ม 2. 5 สูงกว่าเกณฑ์ของ ดับเบิ้ลยูเอชโอ ถึง 10 เท่า โดยกรุงนิวเดลี ของอินเดีย ยังคงเป็นเมืองหลวงที่มีระดับมลพิษทางอากาศสูงที่สุดในโลก ส่วน บังกลาเทศ ทำสถิติเป็นประเทศที่มีมลพิษทางอากาศมากที่สุดในโลก อย่างไรก็ตามในบางพื้นที่ฝุ่นควันพีเอ็ม2. 5 กลับเพิ่มสูงขึ้นอีกครั้งหลังจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 ผ่อนคลายลง อาทิจีนที่มีมลพิษในอากาศลดลงอย่างต่อเนื่อง ข่าวที่น่าสนใจ

"แม่ฮ่องสอน" มีค่าฝุ่น "PM 2. 5" สูงถึง 162 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ขณะที่เกณฑ์มาตรฐานต้องไม่เกิน 50 ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เมตร นับว่าสูงที่สุดในภาคเหนือ มีผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนอย่างหนัก จ. แม่ฮ่องสอน มีค่าฝุ่นละออง PM 2. 5 สูงถึง 162 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร สูงที่สุดในภาคเหนือ เมื่อวันที่ 4 มีนาคม 2564 เวลา 10. 00 น. กองจัดการคุณภาพอากาศและเสียง กรมควบคุมมลพิษ รายงานสถานการณ์คุณภาพอากาศพื้นที่ภาคเหนือ จ. แม่ฮ่องสอน ณ สถานีตรวจวัด บริเวณต. จองคำ อ. เมือง ตรวจวัดค่าฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM 2. 5) ได้ เท่ากับ 162 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร (เกณฑ์มาตรฐานไม่เกิน 50 ไมโครกรัม/ลูกบาศก์เมตร) อยู่ในระดับ "มีผลกระทบต่อสุขภาพ" ถือว่าสูงที่สุดในภาคเหนือ เป็นค่าสูงสุดที่วัดได้นับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2564 เป็นต้นมา ปัจจุบัน ค่า PM 2. 5 ในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน เกินเกณฑ์มาตรฐาน จำนวน 12 วัน นายแพทย์โอภาส การย์กวินพงศ์ อธิบดีกรมควบคุมโรค กล่าวว่า จากรายงานสถานการณ์และคุณภาพอากาศประเทศไทยของกรมควบคุมมลพิษ พบว่าช่วงนี้มีค่า "ฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2. 5" เกินค่ามาตรฐานในหลายพื้นที่ของประเทศไทยตอนบน โดยเฉพาะพื้นที่ภาคเหนือ อาจส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน โดยกลุ่มเสี่ยงจะเกิดการเจ็บป่วยหรือมีผลกระทบต่อสุขภาพที่รุนแรงมากกว่าประชาชนทั่วไป หากสัมผัสฝุ่นละอองปริมาณมากเป็นระยะเวลานาน ขอให้ลดระยะเวลาในการทำกิจกรรมกลางแจ้ง เมื่อมีค่าฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM2.

ขอบคุณเฟซบุ๊ก ศูนย์แก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ อ่านเพิ่มเติม...

  • การทำภาพเคลื่อนไหว ใบไม้ร่วง ด้วยโปรแกรมโฟโตสเคป ( Photoscape ) - Shopping List
  • ปิดฉากรัก! 'My Mate Nate' เลิก 'ลูกหมี' เผยแยกย้ายไปเติบโต | Thaiger ข่าวไทย
  • แก้ ปี ชง 63.com
  • Pm 2.5 เกณฑ์ gel

Black

ฐานเศรษฐกิจดิจิทัล | 23 มี. ค. 2565 เวลา 3:00 น. 16 ค่าฝุ่น PM 2. 5 คุณภาพอากาศเช้านี้ 23 มี. 65 ศกพ. รายงาน PM2. 5 ภาพรวมอยู่ในเกณฑ์ดีมากทุกภาคของประเทศ พร้อมเผยคาดการณ์ 7 วันข้างหน้า เกาะติด " ฝุ่น PM 2. 5 " คุณภาพอากาศเช้านี้ (23 มี. 65) ศูนย์แก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ(ศกพ. ) รายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพอากาศ ประจำวันที่ 23 มีนาคม 2565 ณ 07:00 น สรุปสถานการณ์ PM2. 5 อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานทั้งหมด ภาพรวมอยู่ในเกณฑ์ดีมากทุกภาคของประเทศ ภาคเหนือ ตรวจวัดได้ 8 - 21 มคก. /ลบ. ม. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ตรวจวัดได้ 11 - 34 มคก. ม. ภาคกลางและตะวันตก ตรวจวัดได้ 5 - 25 มคก. ม. ภาคตะวันออก ตรวจวัดได้ 7 - 13 มคก. ม. ภาคใต้ ตรวจวัดได้ 8 - 14 มคก. ม. กรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยสถานีตรวจวัดของ คพ. ร่วมกับ​ ​กทม. ตรวจวัดได้ 7 - 30 มคก. ม. ศูนย์แบบจำลองคุณภาพอากาศ และภูมิศาสตร์สารสนเทศ กรมควบคุมมลพิษ คาดการณ์สถานการณ์ฝุ่นละออง PM2. 5 ล่วงหน้า​ ดังนี้ พื้นที่กรุงเทพปริมณฑล 1 วันข้างหน้า คุณภาพอากาศดี และคาดการณ์ 7 วันข้างหน้า นั้น แนวโน้มของสถานการณ์ในช่วงวันที่ 24-30 มี. จะอยู่ในเกณฑ์ดีต่อเนื่อง เนื่องจากสภาพอากาศที่เปิด และไม่มีสภาพอากาศนิ่งในพื้นที่ พื้นที่ 17 จังหวัดภาคเหนือ 1 วันข้างหน้า คุณภาพอากาศดีมาก และคาดการณ์ 7 วันข้างหน้า นั้น แนวโน้มของสถานการณ์ในช่วงวันที่ 24-30 มี.

5 เกินค่ามาตรฐาน และใช้อุปกรณ์ป้องกัน โดยการสวมหน้ากาก แว่นตา เสื้อแขนยาวขายาว เนื่องจากฝุ่นจะทำให้เกิดการระคายเคืองตาและผิวหนังได้ และดื่มน้ำให้มากๆ เพื่อบรรเทาอาการระคายเคืองคอ แสบคอ ส่วนกลุ่มเสี่ยงที่ต้องดูแลเป็นพิเศษมี 2 กลุ่มใหญ่ ที่ต้องป้องกันตนเองจากฝุ่นละอองขนาดเล็กอย่างเหมาะสมและทันเวลา ก่อนที่จะเกิดการเจ็บป่วย ได้แก่ กลุ่มเปราะบาง เช่น เด็กเล็ก ผู้สูงอายุ หญิงตั้งครรภ์กลุ่มที่มีโรคประจำตัว เมื่อได้รับฝุ่นจะเสี่ยงมีอาการรุนแรงได้ เช่น ผู้ป่วยภูมิแพ้ ผู้ป่วยโรคปอดเรื้อรัง ผู้ป่วยโรคหลอดเลือดหัวใจ ผู้ป่วยโรคตาอักเสบ เป็นต้น หากสงสัยหรือมีอาการผิดปกติ ควรรีบไปพบแพทย์โดยเร็ว

ศูนย์แก้ไขปัญหามลพิษทางอากาศ รายงานการติดตามตรวจสอบ คุณภาพอากาศ ประจำวันที่ 16 มกราคม 2565 สรุปดังนี้ ผลการตรวจวัด ฝุ่นละออง PM2. 5 ในประเทศอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานเป็นส่วนใหญ่ พบเกินค่ามาตรฐานใน จ. ตาก จ. สระบุรี และ จ. ฉะเชิงเทรา

7 เม. ย. 2565 11:14 น. ผลการตรวจวัดปริมาณ PM 2. 5 ในประเทศ พบว่า ส่วนใหญ่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐาน ยกเว้น ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือเกินค่ามาตรฐานบางพื้นที่ อย่างไรก็ตาม พบเกินค่ามาตรฐานใน จ. น่าน จ. เชียงใหม่ จ. แม่ฮ่องสอน จ. แพร่ จ. อุตรดิตถ์ จ. ตาก จ. บึงกาฬ และ จ. หนองคาย ภาคเหนือ เกินค่ามาตรฐาน 11 พื้นที่ ตรวจวัดได้ 27-123 มคก. /ลบ. ม. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เกินค่ามาตรฐาน 2 พื้นที่ ตรวจวัดได้ 16-67 มคก. ภาคกลางและตะวันตก ตรวจวัดได้ 25-44 มคก. ภาคตะวันออก ตรวจวัดได้ 17-34 มคก. ภาคใต้ ตรวจวัดได้ 9-13 มคก. กรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยสถานีตรวจวัดของ คพ. ร่วมกับกทม. ตรวจวัดได้ 23-49 มคก. คำเตือนสำหรับประชาชนที่อยู่ในพื้นที่ที่เกินเกณฑ์มาตรฐาน ประชาชนทั่วไป ควรเฝ้าระวังสุขภาพ ลดเวลาการทำกิจกรรมกลางแจ้ง หรือใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเองหากมีความจำเป็น ผู้ที่ต้องดูแลสุขภาพเป็นพิเศษ ควรลดระยะเวลาการทำกิจกรรมกลางแจ้ง หรือใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเองหากมีความจำเป็น ถ้ามีอาการทางสุขภาพ ควรปรึกษาแพทย์ สำหรับประชาชนที่อยู่บริเวณพื้นที่มีผลกระทบต่อสุขภาพ (พื้นที่สีแดง) ควรหลีกเลี่ยงกิจกรรมกลางแจ้ง หรือใช้อุปกรณ์ป้องกันตนเองหากมีความจำเป็น หากมีอาการทางสุขภาพควรปรึกษาแพทย์.