6. สวัสดิการอื่นๆ ( Other Benefits) องค์การสามารถจัดสวัสดิการแบบอื่นๆ ที่นอกเหนือจากข้อที่กล่าวมาข้างต้นได้ตามความเหมาะสมเช่น 1. บางองค์การอาจมีบำเหน็จเป็นเงินก้อนแก่พนักงานครั้งเดียวเมื่อเกษียณงาน (Lump sum payment) 1. ค่าชดเชยเมื่อเลิกจ้าง (severance pay) 1. ให้สิทธิในการลาโดยไม่รับค่าจ้างเป็นระยะเวลาหนึ่ง (Leave without pay) เนื่องด้วยความจำเป็นหรือเหตุผลส่วนตัว เช่น ลาศึกษาอบรม ลาเลี้ยงดูบุตร หรือบุพการี โดยไม่ได้รับค่าจ้างขณะลา แต่ยังคงสภาพของสมาชิกองค์การไว้ เป็นต้น 2. สวัสดิการที่จ่ายตอบแทนเมื่อลูกจ้างไม่ได้ทำงาน ( Pay for time not work) สวัสดิการชนิดนี้เป็นที่ชื่นชอบแก่พนักงานมากที่สุด สวัสดิการเหล่านี้ก็ได้แก่การให้สิทธิในการลาต่างๆ โดยได้รับค่าจ้างเสมือนหนึ่งได้มาทำงานตามปกติ กฎหมายได้กำหนดให้มีวันหยุดประจำปีตามราชการอย่างน้อยปีละ 13 วันอยู่แล้ว วันหยุดนอกเหนือจากนี้อาจทำได้ตามความเหมาะสม 2. วันหยุดพักผ่อนประจำปี ( Vacations) พ. ร. บ. คุ้มครองแรงงาน พ. 2541 หมวด 2 มาตรา 30 ได้กำหนดให้ลูกจ้างที่ทำงานติดต่อกันมาแล้วครบ 1 ปีมีสิทธิหยุดพักผ่อนประจำปีได้ปีหนึ่งไม่น้อยกว่าหกวันทำงาน องค์การจะให้มากกว่านี้ก็ได้และวิธีบริหารวันหยุดว่าจะให้หยุดอย่างไร เมื่อใด มีการสะสมวันหยุดได้หรือไม่ ฯลฯ นั้น ให้ตกลงกันระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง บางองค์การอาจมีเงินสวัสดิการจ่ายให้พนักงานลูกจ้าง เพื่อใช้จ่ายในวันพักผ่อนประจำปีก็ได้ 2.

  1. เป็นข้าราชการแล้วได้อะไรบ้าง? - สวัสดิการอาชีพข้าราชการ
  2. หน้าที่ตามระเบียบ - งานสวัสดิการนักเรียน นักศึกษา
  3. ประเภทของสวัสดิการ | การบริหารงานทรัพยากรมนุษย์ โดย SIAMHRM.COM :- ข้อมูลเกี่ยวกับ ประเภทของสวัสดิการ, บทความ ประเภทของสวัสดิการ, ตัวอย่าง ประเภทของสวัสดิการ, บริหารงานบุคคล, บริหารทรัพยากรมนุษย์

เป็นข้าราชการแล้วได้อะไรบ้าง? - สวัสดิการอาชีพข้าราชการ

ระเบียบสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ว่าด้วยการบริหารสถานศึกษา พ. ศ. ๒๕๕๒ ข้อ 33 งานสวัสดิการนักเรียน นักศึกษา มีหน้าที่และความรับผิดชอบดังต่อไปนี้ 1. จัดและควบคุมดูแลสวัสดิการและการให้บริการด้านต่าง ๆ ภายในสถานศึกษา เช่น ร้านอาหาร น้ำดื่ม การทำบัตรประกันสุขภาพ การทำประกันอุบัติเหตุ การทำใบอนุญาตขับขี่ การขอใช้สิทธิลดค่าโดยสารและยานพาหนะต่าง ๆ การตรวจสุขภาพประจำปี และตรวจหาสารเสพติด ของนักเรียนนักศึกษาและผู้เข้ารับการฝึกอบรม 2. จัดหาเครื่องมือและเวชภัณฑ์ เพื่อปฐมพยาบาลและการให้บริการสุขภาพแก่นักเรียนนักศึกษา ผู้เข้ารับการฝึกอบรม 3. ดำเนินการเกี่ยวกับการปฐมพยาบาล การบริการทางสุขภาพแก่นักเรียนนักศึกษา ผู้เข้ารับการฝึกอบรม และบุคลากรของสถานศึกษา 4. ให้คำปรึกษาและทำหน้าที่เกี่ยวกับสุขภาพอนามัย เผยแพร่ความรู้เกี่ยวกับสุขภาพ สิ่งเสพติดและโรคภัยร้ายแรงต่าง ๆ ทั้งการป้องกันและรักษา 5. จัดการตรวจติดตามและควบคุมดูแลการเข้าพักทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษาให้เป็นไปตามระเบียบ 6. จัด โรงอาหาร วางแผน จัดระบบและควบคุมดูแล การประกอบอาหาร และการให้การบริการ แก่นักเรียนนักศึกษา และผู้เข้ารับการฝึกอบรมให้ถูกต้องตามหลักโภชนาการที่ดี 7.

พ.

การวางแผนภาษี ยังเกี่ยวข้องกับการที่กิจการวางแผนสวัสดิการพนักงาน เพราะมีทั้งสวัสดิการที่ต้องรวมเป็นรายได้ของพนักงาน และ #สวัสดิการที่ไม่รวมเป็นรายได้ของพนักงาน แต่สามารถ ใช้เป้นรายจ่ายของกิจการได้.. วันนี้เลย รวบรวมมาให้เพื่อเป็นไอเดียเบื้องต้นครับ แต่ทั้งนี้ควรค้นหาวิธีการจัดทำเอกสาร โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ข้อบังคับบริษัทให้รัดกุม เพื่อที่จะไม่มีปัญหากับทางสรรพากรคร้าบผม 👌 Post Views: 592

หน้าที่ตามระเบียบ - งานสวัสดิการนักเรียน นักศึกษา

  • หน้าที่ตามระเบียบ - งานสวัสดิการนักเรียน นักศึกษา
  • ใหม่ Yamaha Exciter 150 2018-2019 ราคา ยามาฮ่า เอ็กซ์ไซเตอร์ 150 ตารางราคา-ผ่อน-ดาวน์ | MOCYC-ONE อัพเดทข่าวมอเตอร์ไซค์ และบิ๊กไบค์ใหม่, DUCATI, YAMAHA, HONDA, KAWASAKI, BENELLI,GPX, SUZUKI, TRIUMPH, VESPA
  • ออ ป โป a3s specs
  • อะซิโตน (Acetone) | siamchemi
  • ขายคอนโด เดอะ เลค แอท เมโทร พาร์ค สาทร [The Lake Metro Park Sathorn] ขายคอนโด 1 ห้องนอน 1 ห้องน้ำ ทุกราคา
  • สวัสดิการพนักงาน ที่ไม่รวมเป็นรายได้ของพนักงาน มีอะไรบ้างมาดูกัน
  • สอบ ‘ก.พ.’ เป็น ‘ข้าราชการ’ ได้ ‘สวัสดิการ’ อะไรบ้าง ? | กรุงเทพธุรกิจ | LINE TODAY
  • Slumdog millionaire พากย์ ไทย
  • กระดาษขาว/เทา (400แกรม) - sombatoffice
ระยะเวลาการได้รับเงินจากภาครัฐ คือ 3 วันทำการ นับจากวันที่เกิดรายการซื้อ-ขายสินค้า เงื่อนไขและข้อห้าม 1. ร้านค้าต้องขายสินค้าในราคาที่ไม่สูงกว่าที่กรมการค้าภายในกำหนด และไม่ฉวยโอกาสปรับราคาขึ้นโดยไม่มีเหตุสมควร 2. ร้านต้องขายสินค้าที่มีคุณภาพ มาตรฐาน ตามที่หน่วยงานของรัฐกำกับดูแลกำหนดไว้ 3. ห้ามร้านค้าแลกการใช้สิทธิ์ใช้จ่ายตามบัตรสวัสดิการแห่งรัฐเป็นเงินสดหรือสิ่งตอบแทนอื่น ๆ 4. ห้ามบังคับผู้ถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐต้องซื้อสินค้าเป็นมูลค่าที่ร้านค้ากำหนด หรือเกินกว่าวงเงินที่ผู้ถือบัตรมีสิทธิ์ 5. ห้ามยึดหรือเก็บบัตรสวัสดิการแห่งรัฐไว้ หากร้านค้าที่เข้าร่วมโครงการไม่ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์ดังกล่าว กรมการค้าภายในมีสิทธิเพิกถอนการเป็นร้านค้าธงฟ้าประชารัฐได้ โดยจะมีหนังสือแจ้งให้ทราบการเพิกถอนสิทธิ และทางกรมการค้าภายในจะเลือกร้านค้าที่ขึ้นบัญชีสำรองไว้เป็นร้านค้าธงฟ้าประชารัฐแทน สำหรับผู้ค้ารายใดที่สนใจเข้าร่วมโครงการธงฟ้าประชารัฐก็รีบดำเนินการได้เลย เพราะตอนนี้กระทรวงพาณิชย์ยังคงเปิดรับสมัครร้านค้าอยู่ตลอด โดยสามารถสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ หรือโทร. ค. – ก. พ.

จิตรเสน มอบหมายและไม่ทราบว่าใครบ้าง เช่น............. การทำบัตรประกันสุขภาพ วิทยาลัยยังไม่มีแนวปฏิบัติ เช่น............. การทำใบอนุญาตขับขี่ แผนก วิชาช่างยนต์ ดำเนินการมาก่อนอย่าง ต่อเนื่องก่อนปี 2552 เช่น............. การขอใช้สิทธิลดค่าโดยสารและยานพาหนะต่าง ๆ รถยนต์ประจำทาง มิต้องทำเพราะลดราคาให้ตามการแต่งกายชุดนร. นศ. รถไฟ ฟรี

ประเภทของสวัสดิการ | การบริหารงานทรัพยากรมนุษย์ โดย SIAMHRM.COM :- ข้อมูลเกี่ยวกับ ประเภทของสวัสดิการ, บทความ ประเภทของสวัสดิการ, ตัวอย่าง ประเภทของสวัสดิการ, บริหารงานบุคคล, บริหารทรัพยากรมนุษย์

การรับการรักษาแบบผู้ป่วยนอก ( outpatient) 1. 2. การผ่าตัดรักษา ( operation) 1. 3. การใช้บริการห้องปฏิบัติการพิเศษ ( laboratory) ขอบเขตของการให้สวัสดิการชนิดนี้อาจครอบคลุมไปถึง ครอบครัวของลูกจ้างด้วย ขอบเขตและระดับการรักษาพยาบาลขึ้นอยู่กับตำแหน่งของลูกจ้าง นโยบายขององค์การ บางองค์การอาจกำหนดเป็นจำนวนเงินที่องค์การจะรับผิดชอบให้เป็นรายปี โดยไม่กำหนดวิธีการและชนิดของการรักษาก็ได้ 1. การให้เงินทดแทน ( Disability Benefits or Employment Injury Benefits) เป็นสวัสดิการที่ให้กับพนักงานที่ไม่สามารถทำงานได้ เนื่องจากการเจ็บป่วยหรือทุพพลภาพอันเนื่องมาจากการทำงาน ตามปกติพนักงานเหล่านี้ก็จะได้รับผลประโยชน์เป็นเงินทดแทนตามสิทธิของผู้ประกันตนตามพระราชบัญญัติประกันสังคมอยู่แล้ว ซึ่งรายละเอียดเกี่ยวกับการจ่ายเงินทดแทนได้กำหนดไว้ในประกาศกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม เรื่อง กำหนดระยะเวลาการจ่ายค่าทดแทนและหลักเกณฑ์และวิธีการคำนวณค่าจ้างรายเดือน ลงวันที่ 12 กันยายน พ. 2537 แต่องค์การอาจจัดสวัสดิการให้เพิ่มเติมจากนี้ก็ได้ 1. การประกันชีวิต ( Life Insurance) การประกันชีวิตพนักงานลูกจ้างเป็นการให้หลักประกันความมั่นคงแก่ครอบครัวของลูกจ้างในกรณีที่ลูกจ้างเสียชีวิตซึ่งนับเป็น สวัสดิการให้แก่ทายาทที่ยังมีชีวิตอยู่ ( Survivor Benefits) ของลูกจ้างด้วย การประกันชีวิตนี้องค์การนิยมทำประกันชีวิตกับบริษัทประกัน และมักเป็นการประกันกลุ่มซึ่งค่าเบี้ยประกันจะถูกกว่าสำหรับวงเงินประกันจะมากหรือน้อยแล้วแต่นโยบายขององค์การ 1.

การลาคลอดบุตร ไม่เกิน 90 วัน 3. การลาไปช่วยเหลือภริยาที่คลอดบุตร ลาภายใน 90 วัน นับแต่วันที่คลอดบุตร และให้มีสิทธิลาไปช่วยเหลือภริยาที่คลอดบุตรครั้งหนึ่งติดต่อกันได้ ไม่เกิน 15 วันทําการ 4. การลากิจส่วนตัว เช่น ลากิจส่วนตัวเพื่อเลี้ยงดูบุตร ให้มีสิทธิลาต่อเนื่องจากการลาคลอดบุตรได้ไม่เกิน 150 วันทําการ 5. การลาพักผ่อน ข้าราชการสามารถลาพักผ่อนประจําปี ในปีงบประมาณหนึ่งได้ 10 วันทําการ (เว้นแต่รับราชการยังไม่ถึง 6 เดือน) 6. การลาอุปสมบทหรือการลาไปประกอบพิธีฮัจย์ ไม่น้อยกว่า 60 วัน 7. การลาเข้ารับการตรวจเลือกหรือเข้ารับการเตรียมพล แล้วแต่กรณี 8. การลาไปศึกษา ฝึกอบรม ปฏิบัติการวิจัย หรือดูงาน แล้วแต่กรณี 9. การลาไปปฏิบัติงานในองค์การระหว่างประเทศ ระยะเวลาไม่เกิน 1 ปี 10. การลาติดตามคู่สมรส ลาได้ ไม่เกิน 2 ปี และในกรณีจําเป็นอาจอนุญาตให้ลาต่อได้อีก 2ปี แต่เมื่อรวมแล้วต้องไม่เกิน 4 ปี พิจารณาแล้วแต่กรณี 11. การลาไปฟื้นฟูสมรรถภาพด้านอาชีพ สามารถลาไปฟื้นฟูสมรรถภาพด้านอาชีพครั้งหนึ่งได้ตามระยะเวลาที่กําหนดไว้ในหลักสูตรที่ประสงค์จะลา แต่ไม่เกิน 12 เดือน (กรณีได้รับอันตรายหรือการป่วยเจ็บเพราะเหตุปฏิบัติราชการในหน้าที่ หรือถูกประทุษร้ายเพราะเหตุกระทําการตามหน้าที่ จนทําให้ตกเป็นผู้ทุพพลภาพหรือพิการ) เงินสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาล 1.

ค่ายา ค่าเวชภัณฑ์ ค่าอุปกรณ์ทางการแพทย์ ค่าเลือด และส่วนประกอบของเลือดและอื่นๆ ทํานองเดียวกันที่ใช้ในการบําบัดรักษาโรค 2. ค่าอวัยวะเทียม และอุปกรณ์ในการบําบัดรักษาโรค รวมทั้งค่าซ่อมแซมอวัยวะเทียม 3. ค่าบริการทางการแพทย์ ค่าบริการทางการพยาบาล ค่าตรวจวินิจฉัยโรค ค่าวิเคราะห์โรค แต่ไม่รวมถึงค่าธรรมเนียมแพทย์พิเศษ 4. ค่าห้อง และค่าอาหาร ตลอดระยะเวลาที่เข้ารับการรักษาพยาบาล 5. ค่าใช้จ่ายเพื่อเป็นการเสริมสร้างสุขภาพและป้องกันโรค 6. ค่าฟื้นฟูสมรรถภาพร่างกายและจิตใจ 7.